verb 100 คำ จำได้หรือยัง ?

100verbs100

verb 100 คำ จำได้หรือยัง ?
♣ มีเว็บไทยหลายเว็บ ที่รวบรวม verb 100 คำที่เจอบ่อย-ใช้บ่อย พร้อมคำแปลไทย, ใน 100 คำของแต่ละ list อาจจะไม่ตรงกันเด๊ะ แต่ก็ไม่หนีกันมากนัก
【1】 https://www.englishbychris.com/portfolio-items/100-verbs/  
【2】 http://www.siameng.com/100-คำกริยาภาษาอังกฤษ/  
【3】 https://tinyurl.com/y77udy89   (คลิก > ที่เส้นขอบขวาไปเรื่อย ๆ)
【4】 https://th.wiktionary.org/wiki/ภาคผนวก:100_คำกริยาภาษาอังกฤษที่ใช้บ่อย   (คลิกคำศัพท์ เพื่อดูความหมาย และประโยคตัวอย่าง)
【5】 https://ภาษาอังกฤษออนไลน์.com/คํากริยาภาษาอังกฤษ/  
【6】 https://tinyurl.com/ycab7s34  
☺☺☺
♣ ส่วนเว็บภาษาอังกฤษ ผมขอแนะนำลิงก์นี้ ซึ่งมี verb 100 คำ, adjective 100 คำ, noun 100 คำ, adverb & preposition 100 คำ, โดยท่านสามารถ print ออกมาแล้วติ๊กว่า คำใดเรารู้แล้ว, ไม่แน่ใจ, หรือไม่รู้
http://literacyforall.org/docs/100_Most_common_in_American_English.pdf  
☺☺☺
ส่วนที่เป็นคลิปก็มีครับ
♦ คลิปไทย มี verb พร้อมคำแปล
https://www.youtube.com/watch?v=koq_4DhO84s&t=2m41s   (พร้อมประโยคตัวอย่าง และคำแปลประโยคเป็นไทย) • ดาวน์โหลดคลิป
https://www.youtube.com/watch?time_continue=13&v=-ttPtBoWOxs   • ดาวน์โหลดคลิป
☺☺☺
♦ แต่ที่ผมอยากจะแนะนำเป็นพิเศษให้คุณครู นำไปเปิดใช้สอนเด็ก ก็คือคลิปข้างล่างนี้ ซึ่งมีแต่ verb และรูปภาพ/ประโยคตัวอย่าง ที่แสดงความหมาย ผมเห็นว่าคลิปอย่างนี้จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด มากกว่าป้อนคำแปลไทยให้ทันที
【1】 https://www.youtube.com/watch?v=it03G5m7ooI   (verb + ภาพ ) • ดาวน์โหลดคลิป
【2】 https://www.slideshare.net/VareliOlga/100-most-common-english-verbs-for-beginners   ( คลิกศึกษาไปทีละคำ อย่างช้า ๆ )
【3】 https://tinyurl.com/y9aqklun    (verb + ภาพ + ประโยคตัวอย่าง) 【4】  250 Verb
☺☺☺
ข้อสังเกต :

(1) verb ส่วนใหญ่มีหลายความหมาย แต่ความหมายที่แสดงในเว็บ มักจะเป็นความหมายที่พื้นฐานที่สุด เช่น see แปลว่า " เห็น " แต่ความหมายว่า " เข้าใจ " หรือ " พบ " เป็นความหมายที่สูงขึ้น เขาอาจจะไม่ได้แสดงไว้

(2) verb บางตัวเป็นคำ noun ด้วย, และเราคนไทยอาจจะคุ้นเคยกับความหมายที่เป็น noun มากกว่าความหมายของ verb เช่น water เราคุ้นเคยคำแปลที่เป็น noun คือ " น้ำ " แต่คำแปลที่เป็น verb คือ " รดน้ำ (ต้นไม้) " เราคุ้นเคยน้อยกว่า ... นี่ก็เป็นเรื่องที่ผู้ศึกษาควรสังเกตด้วย 

พิพัฒน์
www.facebook.com/en4th